วันเสาร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2556

การติดตั้งและคอนฟิค ftp server on ubuntu 12.04

การติดตั้ง ftp server จะใช้แพคเกตที่ชื่อว่า vsftpd เนื่องจากมีความปลอดภัยสูงในการเข้าใช้งาน มีวิธีการติดตั้งดังต่อไป
1.ติดตั้ง vsftpd โดยใช้คำสั่ง
sudo apt-get install vsftpd

2.หลังจากที่ดาวน์โหลดและติดตั้งเรียบร้อยแล้ว ระบบได้กำหนดค่าความปลอดภัยมาแล้วในระดับหนึ่ง แต่ยังไม่เพียงพอเนื่องจากระบบได้กำหนดให้ทุกคนสามารถที่จะเข้าใช้งานได้ ผู้ใช้งานจึงจำเป็นต้องแก้ไขค่าบางอย่างเพื่อในการเข้าใช้งานให้ระบบตัวตนของผู้ใช้ โดยกำหนดค่าดังต่อไปนี้

3.เข้าไปแก้ไขไฟล์ดังต่อไปนี้ 
Sudo pico /etc/vsftpd.conf

วันจันทร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2556

การติดตั้ง CMS Joomla บน Ubuntu Server 12.04 LTS

การติดตั้ง openssh เพื่ให้ใช้ remote ผ่าน putty ได้
apt-get install openssh-server
apt-get install putty


การติดตั้ง Joomla_3.9
1.ติดตั้งโปรแกรม unzip ด้วยคำสั่ง sudo apt-get install unzip

2.สร้าง database สำหรับ CMS ที่ต้องการติดตั้ง โดยเข้าไปที่เว็บ phpmyadmin ที่ได้สร้างไว้
http://192.168.1.100/phpmyadmin/index.php


3.ทำการสร้าง DataBase ขึ้นมาโดยใช้ชื่อว่า dbjoomla แล้วกด Create


4.เตรียมพื้นที่สำหรับติดตั้ง joomla ไว้ที่ /var/www/html/test-joomla ด้วยคำสั่ง
sudo mkdir -p /var/www/html/test-joomla


5.ดาวน์โหลดแฟ้ม Joomla 2.5.8
มาเก็บไว้ด้วยคำสั่ง wget 
http://sulkiflee.n.personal.yru.ac.th/file/Joomla_3.9.16-Stable-Full_Package.zip  -P /tmp



6. ก๊อปปี้ไฟล์จาก /tmp มาไว้ที่ /var/www/html/test-joomla ด้วยคำสั่ง

cp Joomla_3.9.16-Stable-Full_Package.zip  /var/www/html/test-joomla

7. แตกไฟล์ Joomla ด้วย unzip Joomla_3.9.16-Stable-Full_Package.zip

8. แล้วปรับสิทธิ์เจ้าของ /var/www/test-joomla ให้แก่ apache ด้วยคำสั่ง

sudo chown -R www-data.www-data /var/www/test-joomla

9.ติดตั้งปรับแต่งระบบ joomla ครั้งแรก ให้ไปที่เวบ http://192.168.1.100/test-joomla

ขั้นตอนการติดตั้ง Joomla
ขั้นตอน 1 : ภาษา
ให้เลือก th_TH - Thai (ภาษาไทย) แล้วคลิกปุ่ม Next

ขั้นตอน 2 : ตรวจสอบก่อนการติดตั้ง
ให้ตรวจสอบดูถ้ามีค่าเป็น yes หรือ สนับสนุน หมด ดังตัวอย่างแสดงว่าใช้ได้ ให้คลิกปุ่มถัดไป
PHP เวอร์ชั่น >= 5.2.4     Yes  
- สนับสนุน zlib compression  Yes
- สนับสนุน XML             Yes
- สนับสนุน MySQL           Yes
MB language is default     Yes
MB string overload off      Yes
configuration.php เขียนลงไฟล์ได้  Yes

ขั้นตอน 3 : ลิขสิทธิ์
ให้คลิกปุ่มถัดไป

ขั้นตอน 4 : ฐานข้อมูล
ให้ตั้งค่าดังนี้
ชนิดฐานข้อมูล mysqli
ชื่อ host คือ localhost
ชื่อผู้ใช้ฐานข้อมูล คือ root
รหัสผ่านคือ 123456
ชื่อฐานข้อมูลคือ dbjoomla
เสร็จแล้วให้คลิกปุ่มถัดไป

ขั้นตอน 5 : การตั้งค่าระบบ FTP
ไม่ต้องทำอะไร ให้คลิกปุ่มถัดไป

ขั้นตอน 6 : การตั้งค่าระบบ
ให้ป้อนค่าต่างๆ
ชื่อเวบไซต์ คือชื่อที่ปรากฏบนหัว browser
อีเมล์ของท่าน คืออีเมล์ที่จะสื่อสารกับเจ้าของเวบนี้
รหัสผ่านของผู้ดูแล คือรหัสผ่าน admin ของเวบนี้ *** ห้ามลืม !!!
ยืนยันรหัสผ่านของผู้ดูแล ซ้ำอีกครั้ง

ให้คลิกปุ่มยืนยัน ติดตั้งข้อมูลตัวอย่าง จนได้ว่า ข้อมูลตัวอย่างที่ติดตั้งเสร็จสมบูรณ์
เสร็จแล้วให้คลิกปุ่มถัดไป
ขั้นตอนที่ 7 : กดปุ่ม ลบ Folder Installation
 เสร็จสิ้น เป็นอันว่าเสร็จเรียบร้อย

วันพุธที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2556

How To Create A SharePoint List From An Excel Export Tutorial

icon-user  Author:    icon-calendar Date: May 28, 2013   icon-comment Comments: 0  

This tutorial demonstrates an easy way to import an existing list into SharePoint.
  1. Create a list in Microsoft Excel or use an existing list.
  2. Highlight your list and navigate to Home -> Format as Table.
    Format-As-Table
  3. Navigate to Design -> Export -> Export Table to SharePoint List…
    Export-Table-To-SharePoint-List
  4. Fill out the Address to your SharePoint site and the Name and Description of the List.
    Export-Table-To-SharePoint-List-1
  5. Click the Next button.
  6. If your website is secure you may be asked to login with your credentials in order to connect to your SharePoint site.
  7. Your list should display with the recognized SharePoint data types. If the data looks correct, select the column that is the Key Cell and click the Finish button.
    Export-Table-To-SharePoint-List-2
  8. You should get a success message similar to the following:
    Microsoft-SharePoint-Foundation
  9. Click on the link in the success message to view the imported list in your SharePoint site.
    Imported-SharePoint-List

วันศุกร์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2556

แก้ปัญหา Import Spreadsheet ใน SharePoint ไม่ผ่าน

เกิดจากปัญหาการตั้งค่าในเครื่องของผู้ใช้งานไม่ได้ตั้งเป็น Internaet
ปัญหาที่เกิดขึ้น

1. Site Action -- More Option
2. เลือก Import Spreadsheet


3. กด Create
4. ตั้งชื่อให้เรียบร้อย แล้วกดปุ่ม Brows ค้นหาไฟล์ที่ต้องการ แล้วกด Open


5. เจอปัญหา Error ดังภาพ


วิธีการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น

1. เข้า Internet Option
2. เลือกแถบ Security --- Local Intranet ตั้งเป็น Low

3. คลิกที่ปุ่ม Sites -- Advanced -- ใส่ไอพีของ SharePoint แล้วกด Add

4. เสร็จแล้วกดปุ่ม Close ออกมา
5. กด F5 เพื่อ Refresh 1 ครั้งแล้วลอง Import ไฟล์เข้าไปใหม่
6. จะได้ผลดังภาพ






วันพุธที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556

SharePoint 2010 Product key

Product Keys.

SharePoint Server 2010 Enterprise Client Access License Features: GGDG8-JCMXH-8KG8C-RJYYX-3Y33H

SharePoint Server 2010 for Internet Sites, Enterprise: 9FPGB-W6QTT-G68T4-TBX7M-R624H

SharePoint Server 2010 Standard Client Access License Features: KB443-F7CJV-J2RP4-QYQJ7-6PBB3

SharePoint Server 2010 for Internet Sites, Standard: H4P2T-CYKM7-9FKKD-DTQ7X-W69GG

http://technet.microsoft.com/en-us/evalcenter/ee391660.aspx

Enterprise CAL: 6VCWT-QBQVD-HG7KD-8BW8C-PBX7T

Standard CAL: HQ937-PP69X-8K3KR-VYY2F-RPHB3